วันศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

เหตุผลของโปรเจ็ก

เพื่อสามารถตรวจสอบและเช็กสถาพของอุปกรณ์การโรยตัวในรูปแบบต่างๆได้อย่างมาตรฐาน

และได้เรียนรู้ถึงชนิดและประเภทของอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม

เสนอหัวข้อโปรเจ็ก

       
เรื่อง...อุประกรณ์โรยตัว

         ฮาร์เนส (Harness)



        ชนิดของฮาร์เนส ขึ้นอยู่กับลักษณะ การใช้งาน มีทั้งแบบครึ่งตัว, แบบเต็มตัว, เฉพาะช่วงตัวบน และฮาร์เนสเพื่อผู้ประสบภัย เป็นต้น ฮาร์เนสกู้ภัยต้องคำนึงถึง จุดที่รับน้ำหนัก ขนาดและความทนทาน ของแถบเชือก ที่ใช้ทำฮาร์เนส เพื่อการสวมใส่ที่ยาวนาน และปลอดภัย ราคาของฮาร์เนส ขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ และความยาก ง่าย ในการผลิต, ควรจัดให้เป็น อุปกรณ์ประจำตัว ของสมาชิกในทีม

      เชือกกู้ภัย (Static Rope)




       สิ่งที่ควรทราบ คือ คุณสมบัติของเชือกที่ใช้, วัสดุที่ใช้ผลิตเชือก, ขนาดของเชือก, ความยาวของเชือก, ชนิดของเชือก, อัตราการ รับน้ำหนักของเชือก ไปจนถึงการทำเงื่อน ที่ให้ความแข็งแรง และปลอดภัย กับเชือกที่ใช้ ขนาดที่สัมพันธ์กับ การรับน้ำหนักที่ถูกต้อง ความสูงของ สถานที่ที่จะใช้เชือก, จำนวนขึ้นอยู่กับ จุดที่ต้องการใช้ลงหรือเข้าถึง และอาจแบ่งเป็น เชือกหลัก และเชือกเซฟตี้ หรือเชือกสำรอง หากเกิดปัญหาขึ้น กับเชือกเส้นหลัก อุปกรณ์อื่นๆ ที่เข้ามาประกอบร่วมกัน ให้การใช้เชือก มีความปลอดภัย

      คาราบิเนอร์ (Carabiner)




        เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ เกี่ยวยึดเชือก และอุปกรณ์ต่างๆ ควรคำนึงถึง อัตราการรับน้ำหนัก ของอุปกรณ์ วัสดุที่ใช้ และระบบล็อค ควรมีสำรอง ใช้ประจำตัวเจ้าหน้าที่ทุกคน

      ถุงมือโรยตัว (Rappel Gloves)





        ควรเป็นชนิดที่กันความร้อน และผลิตด้วย วัสดุที่ทนทาน ซึ่งนอกจากจะใช้ โรยตัวแล้ว ควรคำนึงกระชับมือ ในการผูกเชือก และปฏิบัติงานอื่นๆได้อย่างคล่องตัว และใช้วัสดุ ระบายความร้อนได้ดี ควรจัดให้เป็น อุปกรณ์ประจำตัว ของสมาชิกในทีม

      หมวกกันกระแทก (Helmet)




        จำเป็นในการปกป้อง ศีรษะจากความร้อน, วัสดุแข็ง, แหลมหรือมีน้ำหนัก ในที่เกิดเหตุ ซึ่งอาจจะตกลงมา ทำอันตรายเจ้าหน้าที่ ได้ทุกเมื่อ, ต้องเป็นแบบ มีสายรัดคาง และควรจัดให้เป็น อุปกรณ์ประจำตัว ของสมาชิกในทีม

      ห่วงรูปเลข 8 (Figure 8)




       เป็นอุปกรณ์ใช้ในการ ควบคุมการโรยตัวลง และผ่อนเชือก ขนาดที่ใช้ ควรให้เหมาะสม กับขนาดของเชือก, จำนวนขึ้นอยู่กับ ผู้ที่จะเข้าปฏิบัติงาน หากต้องการความรวดเร็ว ในการเข้าถึงที่หมาย ควรจัดให้มี ครบตามจำนวนคน

      เชือกเงื่อนพรูสิค ขนาด 5-6 ฟุต (Prusik Cord) ใช้เป็นเชือก ป้องกันการตก เป็นเงื่อนเชือก ที่ช่วยให้การโรยตัว มีความปลอดภัย และผู้โรยตัว สามารถควบคุม ตำแหน่งที่ต้องการ จะหยุดได้เอง , จำนวนขึ้นอยู่กับ จำนวนสมาชิกในทีม และควรมีสำรอง เพื่อช่วยเป็นเงื่อนเชือก ป้องกันการตก

      ข้อควรระวัง หากผู้ใช้ไม่เข้าใจ หลักการทำงานของเงื่อน จะเกิดอันตราย ต้องตรวจดูพรูสิคทุกครั้ง ให้สามารถจับเชือกได้ ก่อนการโรยตัว หรือลงจากเชือก

     สายโยงหลัก (Anchor Strap) เป็นอุปกรณ์สำคัญ ในการติดตั้งสถานีเชือก เป็นแถบเชือก ที่มีความมั่นคงแข็งแรง ในการพันหลัก , ควรมีความยาว มากพอในการพันหลัก หลายๆรอบ , จำนวนควรมี อย่างน้อย 2 เส้น

     ปลอกรองเชือก และแผ่นรองขอบ (Edge Protector) เชือกเป็นสิ่งสำคัญ ในการโรยตัว ที่จำเป็นต้องมี อุปกรณ์ป้องกัน ไม่ให้เกิดการขาด หรือบิดตัว จนเป็นอุปสรรค ในการทำงาน ปลอกรองเชือก จะช่วยป้องกันเชือก เสียดสีกับ มุมของอาคาร หรือหินแหลม แผ่นรองขอบ ที่รองตามขอบ และมุมต่างๆจะช่วยกันการ สึกหรอของเชือก และยืดอายุการใช้งาน ของเชือกได้ดี, จำนวนขึ้นอยู่กับ พื้นที่ที่จะใช้ ทำสถานีโรยตัว ควรมีตามจำนวน ของเชือกและมุม ที่เชือกต้องวิ่งผ่าน

      แถบเชือก (Tubular Webbing) แถบเชือกแบบแบน ขนาด 1 นิ้ว หรือ 2 นิ้ว ซึ่งใช้ประโยชน์ได้ เอนกประสงค์ ในการโรยตัว และผูกยึดกับ หลักโยงเชือก , ผูกโยงหลัก หรือผูกยึดผู้ป่วย เข้ากับเปล ต้องมีอัตราการ รับน้ำหนักที่ได้มาตรฐาน , จำนวนขึ้นอยู่กับ ความต้องการใช้งาน ได้อย่างปลอดภัย ควรมี 2 เส้น ความยาว 12 ฟุต หรือ 20 ฟุต เป็นอย่างน้อย

      ถุงเก็บอุปกรณ์ (Equipment Bag) เพื่อความสะดวก ในการจัดเก็บอุปกรณ์ และการใช้งาน ได้อย่างเป็นระเบียบ และรักษาอายุ การใช้งานของอุปกรณ์ ป้องกันอุปกรณ์ จากความชื้น การสึกหรอ การสูญหาย ฯ

วันพฤหัสบดีที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2554

เสนอหัวข้อโปรเจ็ก

เรื่อง..อุปกรณ์สำหรับการโรยตัว

       









ฮาร์เนส (Harness)



ชนิดของฮาร์เนส ขึ้นอยู่กับลักษณะ การใช้งาน มีทั้งแบบครึ่งตัว, แบบเต็มตัว, เฉพาะช่วงตัวบน และฮาร์เนสเพื่อผู้ประสบภัย เป็นต้น ฮาร์เนสกู้ภัยต้องคำนึงถึง จุดที่รับน้ำหนัก ขนาดและความทนทาน ของแถบเชือก ที่ใช้ทำฮาร์เนส เพื่อการสวมใส่ที่ยาวนาน และปลอดภัย ราคาของฮาร์เนส ขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ และความยาก ง่าย ในการผลิต, ควรจัดให้เป็น อุปกรณ์ประจำตัว ของสมาชิกในทีม

        เชือกกู้ภัย (Static Rope)










สิ่งที่ควรทราบ คือ คุณสมบัติของเชือกที่ใช้, วัสดุที่ใช้ผลิตเชือก, ขนาดของเชือก, ความยาวของเชือก, ชนิดของเชือก, อัตราการ รับน้ำหนักของเชือก ไปจนถึงการทำเงื่อน ที่ให้ความแข็งแรง และปลอดภัย กับเชือกที่ใช้ ขนาดที่สัมพันธ์กับ การรับน้ำหนักที่ถูกต้อง ความสูงของ สถานที่ที่จะใช้เชือก, จำนวนขึ้นอยู่กับ จุดที่ต้องการใช้ลงหรือเข้าถึง และอาจแบ่งเป็น เชือกหลัก และเชือกเซฟตี้ หรือเชือกสำรอง หากเกิดปัญหาขึ้น กับเชือกเส้นหลัก อุปกรณ์อื่นๆ ที่เข้ามาประกอบร่วมกัน ให้การใช้เชือก มีความปลอดภัย

       คาราบิเนอร์ (Carabiner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ เกี่ยวยึดเชือก และอุปกรณ์ต่างๆ ควรคำนึงถึง อัตราการรับน้ำหนัก ของอุปกรณ์ วัสดุที่ใช้ และระบบล็อค ควรมีสำรอง ใช้ประจำตัวเจ้าหน้าที่ทุกคน

       ถุงมือโรยตัว (Rappel Gloves) ควรเป็นชนิดที่กันความร้อน และผลิตด้วย วัสดุที่ทนทาน ซึ่งนอกจากจะใช้ โรยตัวแล้ว ควรคำนึงกระชับมือ ในการผูกเชือก และปฏิบัติงานอื่นๆได้อย่างคล่องตัว และใช้วัสดุ ระบายความร้อนได้ดี ควรจัดให้เป็น อุปกรณ์ประจำตัว ของสมาชิกในทีม

       หมวกกันกระแทก (Helmet) จำเป็นในการปกป้อง ศีรษะจากความร้อน, วัสดุแข็ง, แหลมหรือมีน้ำหนัก ในที่เกิดเหตุ ซึ่งอาจจะตกลงมา ทำอันตรายเจ้าหน้าที่ ได้ทุกเมื่อ, ต้องเป็นแบบ มีสายรัดคาง และควรจัดให้เป็น อุปกรณ์ประจำตัว ของสมาชิกในทีม

       ห่วงรูปเลข 8 (Figure 8) เป็นอุปกรณ์ใช้ในการ ควบคุมการโรยตัวลง และผ่อนเชือก ขนาดที่ใช้ ควรให้เหมาะสม กับขนาดของเชือก, จำนวนขึ้นอยู่กับ ผู้ที่จะเข้าปฏิบัติงาน หากต้องการความรวดเร็ว ในการเข้าถึงที่หมาย ควรจัดให้มี ครบตามจำนวนคน

       เชือกเงื่อนพรูสิค ขนาด 5-6 ฟุต (Prusik Cord) ใช้เป็นเชือก ป้องกันการตก เป็นเงื่อนเชือก ที่ช่วยให้การโรยตัว มีความปลอดภัย และผู้โรยตัว สามารถควบคุม ตำแหน่งที่ต้องการ จะหยุดได้เอง , จำนวนขึ้นอยู่กับ จำนวนสมาชิกในทีม และควรมีสำรอง เพื่อช่วยเป็นเงื่อนเชือก ป้องกันการตก

      ข้อควรระวัง หากผู้ใช้ไม่เข้าใจ หลักการทำงานของเงื่อน จะเกิดอันตราย ต้องตรวจดูพรูสิคทุกครั้ง ให้สามารถจับเชือกได้ ก่อนการโรยตัว หรือลงจากเชือก

       สายโยงหลัก (Anchor Strap) เป็นอุปกรณ์สำคัญ ในการติดตั้งสถานีเชือก เป็นแถบเชือก ที่มีความมั่นคงแข็งแรง ในการพันหลัก , ควรมีความยาว มากพอในการพันหลัก หลายๆรอบ , จำนวนควรมี อย่างน้อย 2 เส้น

       ปลอกรองเชือก และแผ่นรองขอบ (Edge Protector) เชือกเป็นสิ่งสำคัญ ในการโรยตัว ที่จำเป็นต้องมี อุปกรณ์ป้องกัน ไม่ให้เกิดการขาด หรือบิดตัว จนเป็นอุปสรรค ในการทำงาน ปลอกรองเชือก จะช่วยป้องกันเชือก เสียดสีกับ มุมของอาคาร หรือหินแหลม แผ่นรองขอบ ที่รองตามขอบ และมุมต่างๆจะช่วยกันการ สึกหรอของเชือก และยืดอายุการใช้งาน ของเชือกได้ดี, จำนวนขึ้นอยู่กับ พื้นที่ที่จะใช้ ทำสถานีโรยตัว ควรมีตามจำนวน ของเชือกและมุม ที่เชือกต้องวิ่งผ่าน

        แถบเชือก (Tubular Webbing) แถบเชือกแบบแบน ขนาด 1 นิ้ว หรือ 2 นิ้ว ซึ่งใช้ประโยชน์ได้ เอนกประสงค์ ในการโรยตัว และผูกยึดกับ หลักโยงเชือก , ผูกโยงหลัก หรือผูกยึดผู้ป่วย เข้ากับเปล ต้องมีอัตราการ รับน้ำหนักที่ได้มาตรฐาน , จำนวนขึ้นอยู่กับ ความต้องการใช้งาน ได้อย่างปลอดภัย ควรมี 2 เส้น ความยาว 12 ฟุต หรือ 20 ฟุต เป็นอย่างน้อย

        ถุงเก็บอุปกรณ์ (Equipment Bag) เพื่อความสะดวก ในการจัดเก็บอุปกรณ์ และการใช้งาน ได้อย่างเป็นระเบียบ และรักษาอายุ การใช้งานของอุปกรณ์ ป้องกันอุปกรณ์ จากความชื้น การสึกหรอ การสูญหาย ฯ

เสนอหัวข้อโปรเจ็ก